ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน ผู้นำการวิจัยพัฒนาการจัดการที่ดิน สร้างนวัตกรรมนำสู่ความยั่งยืนทางการเกษตรบนพื้นฐานพอเพียง
  • ขอแสดงความยินดี กับ นายจำเริญ นาคคง เนื่องในโอกาสที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผอ.กวจ.

  • ความเชี่ยวชาญของ " หมอดินสถาพร ตะวันขึ้น " #ทำถ่านผลไม้ดับกลิ่น #การทำเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน

  • ดูแลแฝก แฝกดูแลดินและน้ำ หญ้าของพระราชาที่ปกครองแผ่นดินโดยธรรม

  • ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการเสริมพลังความดีในสังคม

  • รู้จริง พืช ดิน ปุ๋ย หรือ TSFM Application ที่จะช่วยลดการใช้ปุ๋ย ลดต้นทุน ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก

  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน

  • E-book กวจ.

  • มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

  • ปุ๋ยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ไนโตรเจน (Nitrogen: N)
เป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีน มีส่วนช่วยในกระบวนการสร้างอาหารและสร้างพลังงานให้กับพืช ช่วยให้พืชมีสีเขียว และช่วยในการเจริญเติบโตทางใบของพืช
ฟอสฟอรัส (Phosphorus: P)
ความสำคัญ: มีส่วนช่วยในการผลิตอาหาร ผลิตแป้งและน้ำตาล ช่วยเร่งการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของราก ช่วยควบคุมการออกดอก ออกผล และช่วยในการสร้างเมล็ด
โพแทสเซียม (Potassium: K)
ความสำคัญ: ช่วยในการเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ช่วยในการออกดอกและการสร้างเมล็ด ช่วยให้ผลเติบโตเร็วและมีคุณภาพดี ช่วยให้พืชแข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลงบางชนิด
อินทรียวัตถุในดิน (Organic matter: OM)
ความสำคัญ: ช่วยให้โครงสร้างดิน ความร่วนซุย การระบายน้ำ การถ่ายเทอากาศ การดูดซับน้ำและธาตุอาหารพืชเหมาะสม ดินที่เหมาะสมทางการเกษตรควรมีอินทรียวัตถุในดินร้อยละ 5
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH)
ความสำคัญ: ค่า pH ของดินไม่ได้บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของดิน แต่มีอิทธิพลต่อการปลดปล่อยธาตุอาหารพืชในดิน ซึ่งค่า pH ของดินบางช่วงตรึงธาตุอาหารพืชบางชนิดไว้จนไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช แต่ค่า pH ของดินบางช่วงปลดปล่อยธาตุอาหารพืชบางชนิดออกมามากจนเป็นพิษกับพืช ค่า pH ของดินที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืชส่วนใหญ่มีค่าอยู่ในช่วง 5.5 - 7.0
ความต้องการปูนของดิน (Lime requirement: LR)
ความสำคัญ: ความต้องการปูนของดิน คือ ปริมาณปูนทางการเกษตรที่พอเหมาะเพื่อช่วยลดความเป็นกรดของดิน เพื่อยกระดับค่า pH ของดินให้สูงกว่า 5.5 จะช่วยลดความเป็นพิษของธาตุเหล็กและอะลูมินัมในดิน
 ทั้งหมด

สถิติการเยี่ยมชมเว็บไซต์
สถิติการเยี่ยมชมเว็บไซต์
สถิติเดือนนี้  5475  
สถิติเดือนที่แล้ว  5080  
   มัลติมีเดีย องค์ความรู้พัฒนาที่ดิน
 

©2015 กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน (กวจ.)
ชั้น 7 ตึก 8 ชั้น กรมพัฒนาที่ดิน ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2579-1753 , โทรสาร 0-2579-1753
E-mail : ord_1@ldd.go.th